แบบทดสอบบทที่ 4 เรื่อง ซอต์ฟแวร์
วันศุกร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
กฏของมัวร์ (Moore's Law)
กฎของมัวร์ (Moore's Law)
หากกฎของมัวร์เป็นจริงคอมพิวเตอร์จากอดีตสู่ปัจจุบันจะก้าวไปอย่างไรในปี
พ.ศ. 2490 วิลเลียมชอคเลย์และกลุ่มเพื่อนนักวิจัยที่สถาบัน เบลแล็ป
ได้คิดค้นสิ่งที่สำคัญและเป็นประโยชน์ต่อชาวโลกมาก
เป็นการเริ่มต้นก้าวเข้าสู่ยุคอิเล็กทรอนิคส์ที่เรียกว่า
โซลิดสเตทเขาได้ตั้งชื่อสิ่งทีประดิษฐ์ขึ้นมาว่า "ทรานซิสเตอร์"
แนวคิดในขณะนั้นต้องการควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้า
ซึ่งสามารถทำได้ดีด้วยหลอดสูญญากาศแต่หลอดมี ขนาดใหญ่เทอะทะใช้กำลังงานไฟฟ้ามากทรานซิสเตอร์จึงเป็นอุปกรณ์ที่นำมาแทนหลอดสูญญากาศได้เป็นอย่างดีทำให้เกิดอุตสาหกรรมสาร
กึ่งตัวนำตามมา และก้าวหน้าขึ้นเป็นลำดับ
พ.ศ.
2508 อุตสาหกรรมผลิตอุปกรณ์สารกึ่งตัวได้แพร่หลาย
มีบริษัทผู้ผลิตทรานซิสเตอร์จำนวนมากการประยุกต์ใช้งานวงจรอิเล็กทรอนิกส์ กว้างขวางขึ้น มีการนำมาใช้ในเครื่องจักร
อุปกรณ์ต่าง ๆ ตั้งแต่ของใช้ในบ้าน จึงถึงในโรงงานอุตสาหกรรม
กอร์ดอน
มัวร์ (Gordon
E. Moore)ผู้อำนวยการวิจัยและพัฒนาของบริษัทแฟร์ซายด์เซมิคอนดัคเตอร์เป็นผู้อยู่ในวงการวิจัยและพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ และการค้นคว้า ทางด้านสารกึ่งตัวนำ
ต่อมาเขาได้เป็นผู้บุกเบิกและร่วมสร้างบริษัทอินเทลจนมีชื่อเสียงโด่งดังและประสบผลสำเร็จ
การผลิตและการค้นคว้าทางด้านสารกึ่งตัวนำส่วนใหญ่ของแฟร์ซายด์จะอยู่ในการดำเนินการของมัวร์เขาได้คลุกคลีกับเทคโนโลยีมาอย่าง
ต่อเนื่อง และยาวนานจากการสังเกตและคาด คะเน แนวโน้มทางเทคโนโนโลยีของมัวร์ในที่สุดเขาได้ตั้งกฎของมัวร์
(Moore's Law) จนเป็นที่ยอมรับ
และทำให้การคาดคะเนอนาคตได้ใกล้เคียง ความเป็นจริง
ทฤษฎีของมัวร์ได้กล่าวไว้ว่าความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและความซับซ้อนของเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอรืทำให้สามารถผลิต ไอซีที่มี ความหนาแน่นไดด้เป็นสองเท่าทุก ๆ
ช่วงระยะเวลาหนึ่ง
เขาได้ทำการพล็อตกราฟแบบสเกลล็อกให้ดูจากอดีตและพบว่าเป็นเช่นนั้นจริง
นอกจากนี้ความก้าวหน้าอื่น ๆ อีกหลายอย่างก็เป็นไปตามกฎของมัวร์ด้วยเช่นกัน
การสร้างทรานซิสเตอร์มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง
บริษัท แฟร์ซายด์ เซมิคอนดัคเตอร์เป็นบริษัทแรกที่เริ่มใช้เทคโนโลยีการผลิต
ทรานซิสเตอร์แบบ planar หรือเจือสารเข้าทางแนวราบ
เทคโนโลยีนี้เป็นต้นแบบของการสร้างไอซีในเวลาต่อมา จากหลักฐานที่กล่าวอ้างไว้พบว่า
บริษัทแฟร์ซายด์ได้ผลิตพลาน่าทรานซิสเตอร์ตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2502
และบริษัทเท็กซัสอินสตรูเมนต์ได้ผลิตไอซีได้ในเวลาต่อมา
และกอร์ดอนมัวร์ก็ได้กล่าวไว้ว่า
จุดเริ่มต้นของกฎของมัวร์เริ่มต้นจากการเริ่มมีพลาน่าทรานซิสเตอร์
การสร้างทรานซิสเตอร์มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง
บริษัท แฟร์ซายด์ เซมิคอนดัคเตอร์เป็นบริษัทแรกที่เริ่มใช้เทคโนโลยีการผลิต
ทรานซิสเตอร์แบบ planar หรือเจือสารเข้าทางแนวราบ
เทคโนโลยีนี้เป็นต้นแบบของการสร้างไอซีในเวลาต่อมา จากหลักฐานที่กล่าวอ้างไว้พบว่า
บริษัทแฟร์ซายด์ได้ผลิตพลาน่าทรานซิสเตอร์ตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2502 และบริษัทเท็กซัสอินสตรูเมนต์ได้ผลิตไอซีได้ในเวลาต่อมา
และกอร์ดอนมัวร์ก็ได้กล่าวไว้ว่า
จุดเริ่มต้นของกฎของมัวร์เริ่มต้นจากการเริ่มมีพลาน่าทรานซิสเตอร์
กอร์ดอน มัวร์ เป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทอินเทล
ได้ใช้หลักการสังเกตตั้งกฎของมัวร์ (Moore’s law) ขึ้น
ซึ่งเขาบันทึกไว้ว่า ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวม จะเพิ่มเป็นเท่าตัวทุกสองปี
และมีผู้นำกฎนี้มาใช้กับ eCommerce ดังนี้
กำลัง (หรือ ความจุ หรือ ความเร็ว)
ของสิ่งต่อไปนี้เพิ่มขึ้นสองเท่าทุกๆ 18 เดือน
1. ความเร็ว Computer Processor
2. แบนด์วิธการสื่อสารและโทรคมนาคม
3. หน่วยความจำของคอมพิวเตอร์
4. ความจุฮาร์ดดิสก์
ที่มา : http://blog.eduzones.com
วันอังคารที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
รหัสแทนข้อมูล
รหัสแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์
ความหมายของรหัสแทนข้อมูล
รหัสแทนข้อมูล หมายถึง
รหัสที่ใช้แทนตัวอักขระ ซึ่งประกอบด้วยตัวอักษร ตัวเลข หรือสัญลักษณ์พิเศษอื่น ๆ
ที่ใช้ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เพราะว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์จะแทนด้วยรหัสเลขฐานสองที่มีเลข 0 กับ 1 วางเรียงกัน
รหัสแอสกี้ (ASCII)
รหัส ASCII (American Standard
Code for Information Interchange)
รหัสแอสกี เป็นรหัสที่นิยมใช้กันมาก
จนสามมารถนับได้ว่าเป็นรหัสมาตรฐานที่ใช้ใน การสื่อสารข้อมูล (Data
Communications) แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัว เมื่อใช้แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษแล้วยังมีเหลืออยู่
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ.
ได้กำหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มลงไปเพื่อให้ใช้งานร่วมกันได้ ตามตาราง การแทนค่าแทนค่าด้วยตัวเลขแนวตั้ง(b7 – b4)ก่อน
แล้วตามด้วยตัวเลขแนวนอน(b3 –b0) เช่น ก ๑๐๑๐๐๐๐๑ และ A ๐๑๐๐๐๐๐๑
b7
|
0
|
0
|
0
|
0
|
0
|
0
|
0
|
0
|
1
|
1
|
1
|
1
|
1
|
1
|
1
|
1
|
||||
b6
|
0
|
0
|
0
|
0
|
1
|
1
|
1
|
1
|
0
|
0
|
0
|
0
|
1
|
1
|
1
|
1
|
||||
b5
|
0
|
0
|
1
|
1
|
0
|
0
|
1
|
1
|
0
|
0
|
1
|
1
|
0
|
0
|
1
|
1
|
||||
b4
|
0
|
1
|
0
|
1
|
0
|
1
|
0
|
1
|
0
|
1
|
0
|
1
|
0
|
1
|
0
|
1
|
||||
b3
|
b2
|
b1
|
b0
|
|||||||||||||||||
0
|
0
|
0
|
0
|
@
|
P
|
`
|
p
|
ฐ
|
ภ
|
ะ
|
เ
|
๐
|
||||||||
0
|
0
|
0
|
1
|
!
|
A
|
Q
|
a
|
q
|
ก
|
ฑ
|
ม
|
ั
|
แ
|
๑
|
||||||
0
|
0
|
1
|
0
|
"
|
B
|
R
|
b
|
r
|
ข
|
ฒ
|
ย
|
า
|
โ
|
๒
|
||||||
0
|
0
|
1
|
1
|
#
|
C
|
S
|
c
|
s
|
ฃ
|
ณ
|
ร
|
ำ
|
ใ
|
๓
|
||||||
0
|
1
|
0
|
0
|
$
|
D
|
T
|
d
|
t
|
ค
|
ด
|
ฤ
|
ิ
|
ไ
|
๔
|
||||||
0
|
1
|
0
|
1
|
%
|
E
|
U
|
e
|
u
|
ฅ
|
ต
|
ล
|
ี
|
ๅ
|
๕
|
||||||
0
|
1
|
1
|
0
|
&
|
F
|
V
|
f
|
v
|
ฆ
|
ถ
|
ฦ
|
ึ
|
ๆ
|
๖
|
||||||
0
|
1
|
1
|
1
|
'
|
G
|
W
|
g
|
w
|
ง
|
ท
|
ว
|
ื
|
็
|
๗
|
||||||
1
|
0
|
0
|
0
|
(
|
H
|
X
|
h
|
x
|
จ
|
ธ
|
ศ
|
ุ
|
่
|
๘
|
||||||
1
|
0
|
0
|
1
|
)
|
I
|
Y
|
i
|
y
|
ฉ
|
น
|
ษ
|
ู
|
้
|
๙
|
||||||
1
|
0
|
1
|
0
|
*
|
J
|
Z
|
j
|
z
|
ช
|
บ
|
ส
|
ฺ
|
๊
|
๚
|
||||||
1
|
0
|
1
|
1
|
+
|
K
|
[
|
k
|
{
|
ซ
|
ป
|
ห
|
๋
|
๛
|
|||||||
1
|
1
|
0
|
0
|
,
|
L
|
\
|
l
|
|
|
ฌ
|
ผ
|
ฬ
|
์
|
||||||||
1
|
1
|
0
|
1
|
-
|
M
|
]
|
m
|
}
|
ญ
|
ฝ
|
อ
|
ํ
|
||||||||
1
|
1
|
1
|
0
|
.
|
N
|
^
|
n
|
~
|
ฎ
|
พ
|
ฮ
|
๎
|
||||||||
1
|
1
|
1
|
1
|
/
|
O
|
_
|
o
|
ฏ
|
ฟ
|
ฯ
|
฿
|
๏
|
ยูนิโคด (Unicode)
ยูนิโคด Unicode) คือ มาตรฐานอุตสาหกรรมที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์แสดงผลและจัดการข้อความธรรมดาที่ใช้ในระบบการเขียนของภาษาส่วนใหญ่ในโลกได้อย่างสอดคล้องกัน ยูนิโคดประกอบด้วยรายการอักขระที่แสดงผลได้มากกว่า 100,000
ตัว พัฒนาต่อยอดมาจากมาตรฐานชุดอักขระสากล (Universal Character Set: UCS) และมีการตีพิมพ์ลงในหนังสือ The Unicode Standard เป็นแผนผังรหัสเพื่อใช้เป็นรายการอ้างอิง
นอกจากนั้นยังมีการอธิบายวิธีการที่ใช้เข้ารหัสและการนำเสนอมาตรฐานของการเข้ารหัสอักขระอีกจำนวนหนึ่ง การเรียงลำดับอักษร กฎเกณฑ์ของการรวมและการแยกอักขระ
รวมไปถึงลำดับการแสดงผลของอักขระสองทิศทาง รหัสยูนอโคด ซึ่งมีขนาด 16 บิต เป็นทางเลือกเพื่อใช้แทนค่าข้อมูล ซึ่งสามารถแทนค่าข้อมูลได้มากถึง 65535
สัญลักษณ์ และปัจจุบันรหัสยูนิโคด
นี้ก็ได้ถูกนำมาใช้งานบนหลายระบบปฏิบัติการบนเครื่องพีซีด้วยกัน เช่น Windows
2000 , Windows XP และ OS/2 เป็นต้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)