วันจันทร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2556

MV เพลง ที่ชอบ คือ เพลง พรุ่งนี้ไม่มีจริง : ปาน ธนพร [Official MV]



....พรุ่งนี้ไม่มีจริง....





                    เหตุผลที่ฉันชอบเพลงนี้ คือ การที่เราจะทำอะไรสักอย่่าง เราควรทำในวัน และ เวลา ที่มีอยู่ เราไม่ควรที่จะอายในการทำความดี หรือว่าเราบอกรักพ่อแม่เราควรบอกโดยไม่รอให้ถึงโอกาสวันพิเศษใดๆ เราสามารถที่จะบอกได้ทุกวัน อย่ารอให้ถึงวันที่ท่านไม่ได้ยินเสียงเราแล้ว เราไม่รู้หรอกว่าเขารอฟังคำนั้นจากเราอยู่หรือเปล่า  หรือการที่เราจะทำอะไรสักอย่างเราควรที่จะทำเลยโดยไม่ต้องรออยู่ เพราะอาจจะไม่ทันการ เราไม่มีทางรู้หรอกว่า วันพรุ่งนี้ของเราจะมีอยู่จริงหรือไม่ อย่าคิดว่าจะพูดหรือทำอะไรเมื่อใดก็ได้ อย่าคิดอย่างนั้น เพราะ จะทำให้เราเสียใจ จะทำให้เรามาคิดทีหลัง และมัวมานั่งโทษตัวเอง ว่าทำไมไม่พูดไม่ทำ มีโอกาสก็พูดก็ทำอย่ารอวันพรุ่งนี้.......................

อยู่กับความชินชา ปล่อยให้วันเวลา

ค่อยๆ ผ่าน ผ่าน ผ่าน พ้นไป
ตราบที่ยังมีเธอ เมื่อหันไปยังเจอ
ทุกๆ อย่างก็ยังมั่นใจ
คำว่ารัก สักคำ ก็เก็บไว้เรื่อยมา
รอเวลาพูดไป วันพรุ่งนี้
หรือสักวันหนึ่งข้างหน้ายังมีเวลามากมาย



แต่ว่าบางคำลา มันก็เดินทางมา
ทั้งที่ไม่ได้เตรียมหัวใจ
หลับตาลงเบาๆ เพียงแค่เราลืมตา
ทุกๆ อย่างก็จางหายไป ไม่ว่ารอยยิ้มเดิม
อ้อมกอด หรือคืนวัน กลายเป็นควันง่ายดาย
วันพรุ่งนี้ ไม่เคยมี และไม่เคยมา ไม่ว่าเมื่อใด



กอดเธอเบาๆ แล้วพูดบางคำ ก็คงจะทำไม่ได้
ให้รู้ว่าฉันรักเธอมากมายแค่ไหน ฮู
แค่เธอรอฟังฉันพูดบางคำ ฉันทำให้มันสายไป
คิดว่าพูดเมื่อไรก็ทันอยู่ดี
เพิ่งรู้วันนี้ ว่าบางที พรุ่งนี้ไม่มีจริง



อยากกุมมือเธอมา อยากให้เธอมองตา
ซุกในกอดอุ่นๆ หัวใจ
บอกกับเธอซ้ำๆ บอกทุกๆ ถ้อยคำ
ทุกนาทีที่ผ่านพ้นไป
อยู่กับเธอให้นาน เท่านาน
ไม่ยอมมีวันที่ห่างร้างไกล
แต่พรุ่งนี้ ไม่เคยมี และไม่เคยมา ไม่ว่าเมื่อใด



กอดเธอเบาๆ แล้วพูดบางคำ ก็คงจะทำไม่ได้
ให้รู้ว่าฉันรักเธอมากมายแค่ไหน ฮู
แค่เธอรอฟังฉันพูดบางคำ ฉันทำให้มันสายไป
คิดว่าพูดเมื่อไรก็ทันอยู่ดี เพิ่งรู้วันนี้ ว่าบางที



กอดเธอเบาๆ แล้วพูดบางคำ ก็คงจะทำไม่ได้
ให้รู้ว่าฉันรักเธอมากมายแค่ไหน ฮู
แค่เธอรอฟังฉันพูดบางคำ ฉันทำให้มันสายไป
คิดว่าพูดเมื่อไรก็ทันอยู่ดี
เพิ่งรู้วันนี้ ว่าบางที พรุ่งนี้ไม่มีจริง



กอดเธอเบาๆ แล้วพูดบางคำ ก็คงจะทำไม่ได้
ให้รู้ว่าฉันรักเธอมากมายแค่ไหน ฮู
แค่เธอรอฟังฉันพูดบางคำ ฉันทำให้มันสายไป
คิดว่าพูดเมื่อไรก็ทันอยู่ดี
เพิ่งรู้วันนี้ ว่าบางที



เศษความทรงจำสักเสี้ยวเวลา ก็เอาคืนมาไม่ได้
รักให้มากเท่าไร ไม่ทันอยู่ดี
เพิ่งรู้วันนี้ ว่าบางที พรุ่งนี้ไม่มีจริง


...อ้างอิง http://sz4m.com/t9016






เทคโนโลยีปัจจุบัน


 เทคโนโลยีการสื่อสารแบบ 3G 


            3G หรือ Third Generation  เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่ 3 อุปกรณ์การสื่อสารยุคที่ 3 นั้นจะเป็นอุปกรณ์ที่ผสมผสาน การนำเสนอข้อมูล และ เทคโนโลยีในปัจจุบันเข้าด้วยกัน เช่น PDA โทรศัพท์มือถือ Walkman, กล้องถ่ายรูป และ อินเทอร์เน็ต
            3G เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาต่อเนื่องจากยุคที่ 2 และ 2.5 ซึ่งเป็นยุคที่มีการให้บริการระบบเสียง และ การส่งข้อมูลในขั้นต้น ทั้งยังมีข้อจำกัดอยู่มาก การพัฒนาของ 3G ทำให้เกิดการใช้บริการมัลติมีเดีย และ ส่งผ่านข้อมูลในระบบไร้สายด้วยอัตราความเร็วที่สูงขึ้น
      ลักษณะการทำงานของ 3G เมื่อเปรียบเทียบเทคโนโลยี 2G กับ 3G แล้ว 3G มีช่องสัญญาณความถี่ และ ความจุในการรับส่งข้อมูลที่มากกว่า ทำให้ประสิทธิภาพในการรับส่งข้อมูลแอพพลิเคชั่น รวมทั้งบริการระบบเสียงดีขึ้น พร้อมทั้งสามารถใช้ บริการมัลติมีเดียได้เต็มที่ และ สมบูรณ์แบบขึ้น
      เช่น บริการส่งแฟกซ์, โทรศัพท์ต่างประเทศ ,รับ-ส่งข้อความที่มีขนาดใหญ่ ,ประชุมทางไกลผ่านหน้าจออุปกรณ์สื่อสาร, ดาวน์โหลดเพลง, ชมภาพยนตร์แบบสั้นๆ เทคโนโลยี

คุณสมบัติหลักของ 3G คือ
      มีการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายของ 3G ตลอดเวลาที่เราเปิดเครื่องโทรศัพท์ (always on) นั่นคือไม่จำเป็นต้องต่อโทรศัพท์เข้าเครือข่าย และ log-in ทุกครั้งเพื่อใช้บริการรับส่งข้อมูล ซึ่งการเสียค่าบริการแบบนี้ จะเกิดขึ้นเมื่อมีการเรียกใช้ข้อมูลผ่านเครือข่ายเท่านั้น โดยจะต่างจากระบบทั่วไป ที่จะเสียค่าบริการตั้งแต่เราล็อกอินเข้าในระบบเครือข่าย อุปกรณ์สื่อสารไร้สายระบบ 3G สำหรับ 3G อุปกรณ์สื่อสารไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแค่โทรศัพท์เท่านั้น แต่ยังปรากฏในรูปแบบของอุปกรณ์ สื่อสารอื่น เช่น Palmtop, Personal Digital Assistant (PDA), Laptop และ PC






วันศุกร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

วันศุกร์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

กฏของมัวร์ (Moore's Law)


กฎของมัวร์ (Moore's Law)

                                 หากกฎของมัวร์เป็นจริงคอมพิวเตอร์จากอดีตสู่ปัจจุบันจะก้าวไปอย่างไรในปี พ.ศ. 2490 วิลเลียมชอคเลย์และกลุ่มเพื่อนนักวิจัยที่สถาบัน เบลแล็ป ได้คิดค้นสิ่งที่สำคัญและเป็นประโยชน์ต่อชาวโลกมาก เป็นการเริ่มต้นก้าวเข้าสู่ยุคอิเล็กทรอนิคส์ที่เรียกว่า โซลิดสเตทเขาได้ตั้งชื่อสิ่งทีประดิษฐ์ขึ้นมาว่า "ทรานซิสเตอร์" แนวคิดในขณะนั้นต้องการควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้า ซึ่งสามารถทำได้ดีด้วยหลอดสูญญากาศแต่หลอดมี ขนาดใหญ่เทอะทะใช้กำลังงานไฟฟ้ามากทรานซิสเตอร์จึงเป็นอุปกรณ์ที่นำมาแทนหลอดสูญญากาศได้เป็นอย่างดีทำให้เกิดอุตสาหกรรมสาร กึ่งตัวนำตามมา และก้าวหน้าขึ้นเป็นลำดับ

                   พ.ศ. 2508 อุตสาหกรรมผลิตอุปกรณ์สารกึ่งตัวได้แพร่หลาย มีบริษัทผู้ผลิตทรานซิสเตอร์จำนวนมากการประยุกต์ใช้งานวงจรอิเล็กทรอนิกส์  กว้างขวางขึ้น มีการนำมาใช้ในเครื่องจักร อุปกรณ์ต่าง ๆ ตั้งแต่ของใช้ในบ้าน จึงถึงในโรงงานอุตสาหกรรม

                   กอร์ดอน มัวร์ (Gordon E. Moore)ผู้อำนวยการวิจัยและพัฒนาของบริษัทแฟร์ซายด์เซมิคอนดัคเตอร์เป็นผู้อยู่ในวงการวิจัยและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ และการค้นคว้า ทางด้านสารกึ่งตัวนำ ต่อมาเขาได้เป็นผู้บุกเบิกและร่วมสร้างบริษัทอินเทลจนมีชื่อเสียงโด่งดังและประสบผลสำเร็จ การผลิตและการค้นคว้าทางด้านสารกึ่งตัวนำส่วนใหญ่ของแฟร์ซายด์จะอยู่ในการดำเนินการของมัวร์เขาได้คลุกคลีกับเทคโนโลยีมาอย่าง ต่อเนื่อง และยาวนานจากการสังเกตและคาด คะเน แนวโน้มทางเทคโนโนโลยีของมัวร์ในที่สุดเขาได้ตั้งกฎของมัวร์ (Moore's Law) จนเป็นที่ยอมรับ และทำให้การคาดคะเนอนาคตได้ใกล้เคียง ความเป็นจริง

                    ทฤษฎีของมัวร์ได้กล่าวไว้ว่าความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและความซับซ้อนของเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอรืทำให้สามารถผลิต     ไอซีที่มี ความหนาแน่นไดด้เป็นสองเท่าทุก ๆ ช่วงระยะเวลาหนึ่ง เขาได้ทำการพล็อตกราฟแบบสเกลล็อกให้ดูจากอดีตและพบว่าเป็นเช่นนั้นจริง นอกจากนี้ความก้าวหน้าอื่น ๆ อีกหลายอย่างก็เป็นไปตามกฎของมัวร์ด้วยเช่นกัน

                   การสร้างทรานซิสเตอร์มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง บริษัท แฟร์ซายด์ เซมิคอนดัคเตอร์เป็นบริษัทแรกที่เริ่มใช้เทคโนโลยีการผลิต ทรานซิสเตอร์แบบ    planar หรือเจือสารเข้าทางแนวราบ เทคโนโลยีนี้เป็นต้นแบบของการสร้างไอซีในเวลาต่อมา จากหลักฐานที่กล่าวอ้างไว้พบว่า บริษัทแฟร์ซายด์ได้ผลิตพลาน่าทรานซิสเตอร์ตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2502 และบริษัทเท็กซัสอินสตรูเมนต์ได้ผลิตไอซีได้ในเวลาต่อมา และกอร์ดอนมัวร์ก็ได้กล่าวไว้ว่า จุดเริ่มต้นของกฎของมัวร์เริ่มต้นจากการเริ่มมีพลาน่าทรานซิสเตอร์

                    การสร้างทรานซิสเตอร์มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง บริษัท แฟร์ซายด์ เซมิคอนดัคเตอร์เป็นบริษัทแรกที่เริ่มใช้เทคโนโลยีการผลิต ทรานซิสเตอร์แบบ    planar หรือเจือสารเข้าทางแนวราบ เทคโนโลยีนี้เป็นต้นแบบของการสร้างไอซีในเวลาต่อมา จากหลักฐานที่กล่าวอ้างไว้พบว่า บริษัทแฟร์ซายด์ได้ผลิตพลาน่าทรานซิสเตอร์ตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2502 และบริษัทเท็กซัสอินสตรูเมนต์ได้ผลิตไอซีได้ในเวลาต่อมา และกอร์ดอนมัวร์ก็ได้กล่าวไว้ว่า จุดเริ่มต้นของกฎของมัวร์เริ่มต้นจากการเริ่มมีพลาน่าทรานซิสเตอร์

                   กอร์ดอน มัวร์ เป็นผู้ร่วมก่อตั้งบริษัทอินเทล ได้ใช้หลักการสังเกตตั้งกฎของมัวร์ (Moore’s law) ขึ้น ซึ่งเขาบันทึกไว้ว่า ปริมาณของทรานซิสเตอร์บนวงจรรวม จะเพิ่มเป็นเท่าตัวทุกสองปี และมีผู้นำกฎนี้มาใช้กับ eCommerce ดังนี้
กำลัง (หรือ ความจุ หรือ ความเร็ว) ของสิ่งต่อไปนี้เพิ่มขึ้นสองเท่าทุกๆ 18 เดือน

1. ความเร็ว Computer Processor
2. แบนด์วิธการสื่อสารและโทรคมนาคม
3. หน่วยความจำของคอมพิวเตอร์
4. ความจุฮาร์ดดิสก์






ที่มา : http://blog.eduzones.com 

วันอังคารที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

รหัสแทนข้อมูล


รหัสแทนข้อมูลในคอมพิวเตอร์

ความหมายของรหัสแทนข้อมูล
รหัสแทนข้อมูล  หมายถึง รหัสที่ใช้แทนตัวอักขระ ซึ่งประกอบด้วยตัวอักษร ตัวเลข หรือสัญลักษณ์พิเศษอื่น ๆ ที่ใช้ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพราะว่าข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์จะแทนด้วยรหัสเลขฐานสองที่มีเลข 0 กับ 1 วางเรียงกัน

รหัสแอสกี้ (ASCII)

รหัส ASCII (American Standard Code for Information Interchange)
      รหัสแอสกี เป็นรหัสที่นิยมใช้กันมาก จนสามมารถนับได้ว่าเป็นรหัสมาตรฐานที่ใช้ใน การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) แทนสัญลักษณ์ต่าง ๆ ได้ 256 ตัว เมื่อใช้แทนตัวอักษรภาษาอังกฤษแล้วยังมีเหลืออยู่ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ สมอ. ได้กำหนดรหัสภาษาไทยเพิ่มลงไปเพื่อให้ใช้งานร่วมกันได้ ตามตาราง  การแทนค่าแทนค่าด้วยตัวเลขแนวตั้ง(b7  b4)ก่อน แล้วตามด้วยตัวเลขแนวนอน(b3 –b0) เช่น   ก ๑๐๑๐๐๐๐๑   และ  A ๐๑๐๐๐๐๐๑

b7
0
0
0
0
0
0
0
0
1
1
1
1
1
1
1
1
b6
0
0
0
0
1
1
1
1
0
0
0
0
1
1
1
1
b5
0
0
1
1
0
0
1
1
0
0
1
1
0
0
1
1
b4
0
1
0
1
0
1
0
1
0
1
0
1
0
1
0
1
b3
b2
b1
b0
0
0
0
0
@
P
`
p
0
0
0
1
!
A
Q
a
q
0
0
1
0
"
B
R
b
r
0
0
1
1
#
C
S
c
s
0
1
0
0
$
D
T
d
t
0
1
0
1
%
E
U
e
u
0
1
1
0
&
F
V
f
v
0
1
1
1
'
G
W
g
w
1
0
0
0
(
H
X
h
x
1
0
0
1
)
I
Y
i
y
1
0
1
0
*
J
Z
j
z
1
0
1
1
+
K
[
k
{
1
1
0
0
,
L
\
l
|
1
1
0
1
-
M
]
m
}
1
1
1
0
.
N
^
n
~
1
1
1
1
/
O
_
o
฿




ยูนิโคด (Unicode)
        ยูนิโคด Unicode) คือ มาตรฐานอุตสาหกรรมที่ช่วยให้คอมพิวเตอร์แสดงผลและจัดการข้อความธรรมดาที่ใช้ในระบบการเขียนของภาษาส่วนใหญ่ในโลกได้อย่างสอดคล้องกัน ยูนิโคดประกอบด้วยรายการอักขระที่แสดงผลได้มากกว่า 100,000 ตัว พัฒนาต่อยอดมาจากมาตรฐานชุดอักขระสากล (Universal Character Set: UCS) และมีการตีพิมพ์ลงในหนังสือ The Unicode Standard เป็นแผนผังรหัสเพื่อใช้เป็นรายการอ้างอิง นอกจากนั้นยังมีการอธิบายวิธีการที่ใช้เข้ารหัสและการนำเสนอมาตรฐานของการเข้ารหัสอักขระอีกจำนวนหนึ่ง การเรียงลำดับอักษร กฎเกณฑ์ของการรวมและการแยกอักขระ รวมไปถึงลำดับการแสดงผลของอักขระสองทิศทาง   รหัสยูนอโคด ซึ่งมีขนาด 16 บิต เป็นทางเลือกเพื่อใช้แทนค่าข้อมูล ซึ่งสามารถแทนค่าข้อมูลได้มากถึง 65535 สัญลักษณ์ และปัจจุบันรหัสยูนิโคด นี้ก็ได้ถูกนำมาใช้งานบนหลายระบบปฏิบัติการบนเครื่องพีซีด้วยกัน เช่น Windows 2000 , Windows XP และ OS/2 เป็นต้น




NASSEEN BANYONGKID แทนด้วยรหัส ASCII ดังนี้

N     0100 1110
A     0100  0001
S     0101  0011
S     0101  0011
E     0100  0101
E     0100  0101
N     0100 1110
SPACE (ช่องว่าง)0010 0000
B     0100 0010
A     0100  0001
N     0100 1110
Y     0101 1001
O     0100 1111
N     0100 1110
G     0100 0111
K     0100 1011
I      0100 1001
D     0100 1001


ใช้พื้นที่จัดเก็บ  18 ไบต์